20204-2105 โปรแกรมฐานข้อมูล

การสร้างตารางในฐานข้อมูล Access

1. รหัสข้อมูล เป็นตัวเลข 4 หลัก

2. คำนำหน้า เป็นตัวอักษร

3. ชื่อ / นามสกุล / ที่อยู่ / ตำบล เป็นตัวอักษร

4. วันเกิด เป็นวันที่

5. รหัสไปรษณีย์ เป็น ตัวเลข 5 หลัก

1

2

3

4

5

ตารางข้อมูล (Table)

ฐานข้อมูลจะประกอบไปด้วยตารางข้อมูลตั้งแต่ 1 ตารางข้อมูลขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดเก็บข้อมูล

ตารางข้อมูล (Table)

ตาราง (TABLE) คือส่วนที่ฐานข้อมูลใช้เก็บข้อมูล ตารางประกอบด้วยเขตข้อมูลหรือที่เรียกว่าฟิลด์ (Field) โดยจะต้องกำหนดชนิดข้อมูลที่เหมาะสมตามลักษณะของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ/กำหนดเขตข้อมูลที่จะใช้เป็นคีย์หลัก (Primary Key)

ERD: โครงสร้างตารางข้อมูล

code classroom fullname
631005715 ปวช 3/2 จักริน  อินทษร
631005700 ปวช 3/2 ปุณณวิช  แสงพิจิตร
631005731 ปวช 3/2 ชนิภรณ์  รุ่งแสงทอง

ข้อมูลในตาราง

ตารางข้อมูล

Workshop

  1. การสร้างตาราง

  2. ชนิดของข้อมูล

  3. การกำหนดคีย์หลัก

  4. การสร้างรายการเลือก 

  5. การแก้ไขโครงสร้างตาราง

การสร้างตาราง

Workshop

  1. เปิดโปรแกรม MS-Access

  2. สร้างฐานข้อมูลเปล่า (Blank Database)
    ตั้งชื่อฐานข้อมูลว่า Database1.accdb

  3. สร้างตารางข้อมูลตาม ERD ต่อไปนี้

ชนิดของข้อมูล

Workshop

ชนิดข้อมูล ลักษณะข้อมูลที่จัดเก็บ ตัวอย่างข้อมูล
ข้อความสั้น (Text) ข้อมูลตัวอักษร ชื่อ นามสกุล ฯลฯ
ข้อความยาว (Memo) ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลบันทึกยาวมาก ๆ
ตัวเลข (Number) ข้อมูลตัวเลข อายุ เงินเดือน
ตัวเลขมาก (Double) ตัวเลขจำนวนมาก เงิน มากกว่า 4 พันล้าน
วันที่ / เวลา (Date/Time) ข้อมูลวันที่และเวลา วันเกิด เวลาเข้างาน
สกุลเงิน (Currency) ข้อมูลตัวเลขสกุลเงิน
ตัวเลขอัตโนมัติ (AutoNumber) ตัวเลขเพิ่มอัตโนมัติ
ใช่ / ไม่ใช่ (Yes/No) ข้อมูลที่มี 2 ค่า จริง/เท็จ ใช่/ไม่ใช่
วัตถุ OLE (OLE Object) ข้อมูลวัตถุจากแอพอื่น รูปภาพ แผนภูมิ
ไฟล์แนบ (Attachment) ข้อมูลไฟล์ (ดิจิทัล) ไฟล์งานต่าง ๆ
ตัวช่วยสร้างการค้นหา (Lookup Wizard) ตัวช่วยสร้างข้อมูล

การกำหนดคีย์หลัก (Primary Key)

Workshop

  1. เขตข้อมูลที่ถูกกำหนดให้เป็นคีย์หลักของตารางข้อมูล

  2. ข้อมูลในเขตข้อมูลคีย์หลัก จะต้องไม่ซ้ำกับข้อมูลแถวอื่น ๆ

  3. code เป็นคีย์หลักของตาราง (PK)

การสร้างรายการเลือก (Lookup Wizard)

Workshop

  1. เลือกชนิดข้อมูลเป็น Lookup Wizard

  2. เลือกตัวเลือกล่าง "I'll type the value that I want"

  3. พิมพ์กำหนดข้อมูลสมาชิกสำหรับตัวเลือก

  4. เสร็จสิ้น

การสร้างรายการเลือก (Lookup Wizard) (ต่อ)

Workshop

  1. เลือกชนิดข้อมูลเป็น Lookup Wizard

  2. เลือกตัวเลือกล่าง "I want the lookup field to get the value from another table or query"

  3. พิมพ์กำหนดข้อมูลสมาชิกสำหรับตัวเลือก

  4. เสร็จสิ้น

การแก้ไขโครงสร้างตาราง

Workshop

  1. เข้าสู่ "มุมมองออกแบบ"

  2. การลบเขตข้อมูล

  3. การแทรกเขตข้อมูล

  4. การเปลี่ยนชื่อเขตข้อมูล

  5. การย้ายตำแหน่งเขตข้อมูล

Assignment 3

Due Date: 24 Jun 2022 23.59

1. สร้างตาราง student (นักศึกษา) ตามโครงสร้างต่อไปนี้

  • สร้างตารางเสร็จ ให้ใส่ข้อมูลของนักศึกษา

  • ชื่อ และนามสกุล นศ.

  • class_room -> ปวช.

  • class_level -> 3

Assignment 3 (ต่อ)

Due Date: 24 Jun 2022 23.59

2. สร้างตาราง department (แผนก) ตามโครงสร้างต่อไปนี้

หมายเหตุ

  • PK = Primary Key

  • AI = Auto Numnber

Assignment 3 (ต่อ)

Due Date: 24 Jun 2022 23.59

3. ใส่ข้อมูลในตาราง department (แผนก)

department_no department_name
1 การบัญชี
2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
3 ธุรกิจค้าปลีก

Assignment 3 (ต่อ)

Due Date: 24 Jun 2022 23.59

4. อัปเดตโครงสร้างข้อมูลในตาราง student

  • ลบเขตข้อมูล grade

  • เพิ่มเขตข้อมูล prefix

  • เพิ่มเขตข้อมูล department_no

Assignment 3 (ต่อ)

Due Date: 24 Jun 2022 23.59

5. สร้างตาราง subject และ grade

Aj. Krit Th.

https://www.kritth.com

20240717 DB Tables

By Krit Th.

20240717 DB Tables

  • 105