20204-2105 โปรแกรมฐานข้อมูล
ความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูล
ข้อมูล
จัดเก็บ
ใช้งาน
อิเล็กทรอนิกส์
สมรรถนะ
แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ชนิดและลักษณะของฐานข้อมูล
ปฏิบัติการออกแบบ สร้าง และแก้ไขระบบฐานข้อมูลโดยใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
นักศึกษาต้องทำได้
เพื่อผ่านการประเมินวิชานี้
คอมพิวเตอร์: การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานในคอมพิวเตอร์ จะจัดเก็บในระบบดิจิทัล (Digital) จะแทนความหมายของข้อมูลในรูปแบบของ
ตัวเลขฐานสอง
ประกอบด้วยด้วยสัญญลักษณ์คณิตศาสตร์
0
และ
1
(ฐาน 2: มีสองจำนวน)
เรียกว่า
บิต
(bit)
ตัวอย่าง
0 = เลขศูนย์ หรือ สถานะปิด
1 = เลขหนึ่ง หรือ สถานะเปิด
ตัวอย่าง
0110 0001 = ตัวอักษร a
0100 0001 = ตัวอักษร A
0110 0010 = ตัวอักษร b
0110 0011 = ตัวอักษร c
ถ้าต้องการเก็บจำนวนของข้อมูลตัวเลขหรือตัวอักษรที่มากกว่า 2 ค่า (ใช้พื้นที่ 1 หลัก=1 bit) จะต้องใช้หลักการเพิ่มข้อมูล (bit-บิต) หน่วยข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบันเรียกว่า
ไบต์
(byte) ซึ่ง
1 byte เท่ากับ 8 bits
คอมพิวเตอร์: การจัดเก็บข้อมูล (ต่อ)
การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเฉพาะของแอพพลิเคชั่น (Application Data Storage) โปรแกรมเมอร์ที่พัฒนาแอพฯ เพื่อใช้งานในวัตถุประสงค์เฉพาะ มักพัฒนาวิธีการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเฉพาะ
ตัวอย่าง
Field
= การนําข้อมูลหลายไบต์มารวมกันเพื่อใช้แทนการจัดเก็บข้อมูลสิ่งใดส่งิหนึ่ง เช่น ชื่อ, นามสกุล, เพศ, ส่วนสูง, น้ำหนัก ฯลฯ
ยกตัวอย่างเช่น โปรแกรมฐานข้อมูล MS-Access มีการจัดเก็บข้อมูลได้หลายรูปแบบ เช่น
ฟิลด์ (Field)
,
เรคอร์ด (Record)
, หรือ
ไฟล์ (File)
การจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเฉพาะเหล่านี้ ล้วนมีพื้นฐานอยู่บนการจัดเก็บข้อมูลของระบบดิจิทัล
ตัวอย่าง
Record
= ข้อมูลที่ประกอบด้วยข้อมูลหลาย Field มารวมกัน เพื่อสื่อความหมายในการจัดเก็บข้อมูล 1 ชุด หรือ 1 ระเบียน
การจัดเก็บข้อมูลในระบบ ไฟล์
ผู้ริเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ มักใช้วิธีการเก็บข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของตน (ระบบดิจิทัล) ด้วยโปรแกรมพื้นฐาน เช่น MS-Word, MS-Excel, Notepad, และ ฯลฯ ซึ่งมีข้อเสียหลายอย่าง
ความปลอดภัย (Security)
การอัปเดตข้อมูล (Collaboration)
การนำข้อมูลไปใช้งานและความยืดหยุ่น (Flexibility)
ผู้ใช้ 1
ผู้ใช้ 2
ผู้ใช้ 3
กลุ่มผู้ใช้อื่น
ระบบจัดเก็บข้อมูลกลาง
ผู้ใช้ 1
ผู้ใช้ 2
ผู้ใช้ 3
กลุ่มผู้ใช้อื่น
ระบบจัดเก็บข้อมูลกลาง
ผู้ใช้งาน
ซอฟ์ทแวร์ DBMS
ฮาร์ดแวร์
ฐานข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลในระบบ ฐานข้อมูล
ประโยชน์ของฐานข้อมูล
ลดปัญหาการจัดเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน (Reduce Redundancy)
ลดปัญหาความขัดแย้งหรือข้อมูลไม่ตรงกัน (Reduce Inconsistence)
มีความเป็นอิสระระหว่างโปรแกรมและข้อมูล ทำให้สามารถใช้โปรแกรมต่าง ๆ มาใช้งานร่วมกับฐานข้อมูลได้ โดยไม่ผูกติดกับโปรแกรมโปรแกรมหนึ่ง
ลดปัญหาการปรับปรุงโครงสร้างข้อมูลที่จะทำข้อมูลเสียหาย
มีความน่าเชื่อถือ โดยมีระบบป้องกันความผิดพลาดของข้อมูลที่ป้อนเข้ามา
ข้อมูลมีความเป็นมาตรฐาน สามารถถ่ายโอนแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
มีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล โดยกำหนดสิทธิในการจัดการสำหรับผู้ใช้งานแต่ละคน หรือแต่ละกลุ่ม ให้แตกต่างกันได้
ชนิดของฐานข้อมูล
แบบลำดับชั้น (Hierarchical Data Model) เป็นการจัดเก็บในลักษณะลำดับชั้น
แบบจำลองเครือข่าย (Network Data Model)
แบบจำลองเชิงสัมพันธ์ (Relational Data Model)
แบบจำลองเชิงวัตถุ (Object Oriented Data Model)
1
2
4
3
ปัจจุบัน
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational DB)
ตาราง
นักศึกษา
ตาราง
ครู-อาจารย์
ตาราง
แผนกวิชา
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational DB)
ตาราง ครู-อาจารย์
มี
4
แอททริบิวต์
แอททริบิวต์ อาจเรียกชื่ออื่นได้ว่า
ฟิลด์ (Field)
เขตข้อมูล
คอลัมน์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational DB)
รหัสครู-อาจารย์
ชื่อครู-อาจารย์
โทรศัพท์
แผนกวิชา
L01
กฤษณ์ ทิวาวรรณวงศ์
088-9XX-X222
คอมพิวเตอร์
L02
สรรค์พงษ์ วรศิลป์
086-6XX-X111
แกนธุรกิจ
แถวข้อมูล 1
ตาราง/รีเลชั่น ครู-อาจารย์
มี
2
แถวข้อมูล
แถวข้อมูล อาจเรียกชื่ออื่นได้ว่า
เรคอร์ด (Record)
ทูเพิล (Tuple)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational DB)
สรุปคำศัพท์
1 ตารางข้อมูล / รีเลชั่น
แอททริบิวต์
หรือ ฟิลด์
เรคอร์ด
หรือ ทูเพิล
ถาม - ตอบ
คำถามท้ายบทเรียน
บอกชื่อคําศัพท์ของหน่วยจัดเก็บข้อมูลต่อไปนี้
บิต (Bit) คือ
ไบต์ (Byte) คือ
ฟิลด์ (Field) คือ
เรคอร์ด (Record) คือ
บอกประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล มา 3 ข้อ
ถาม - ตอบ
คำถามท้ายบทเรียน
ใส่ชื่อแบบจําลองฐานข้อมูลจากลักษณะการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลลูกต้องเกิดจากข้อมูลหลักเพียงตัวเดียวคือ
ข้อมูลลูกสามารถเกิดจากข้อมูลหลักหลายตัวได้คือ
ข้อมูลจัดเก็บเป็นตารางที่สัมพันธ์กันคือ
ข้อมูลและการดําเนินการข้อมูลจัดเก็บไว้ร่วมกันคือ
จงบอกคุณสมบัติของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์มา 3 ข้อ
ถาม - ตอบ
คำถามท้ายบทเรียน
จงบอกความหมายของ ศัพท์ต่อไปนี้
รีเลชันทูเพิล (Relation) คือ
ทูเพิล (Tuple) คือ
แอททริบิวต์ (Attribute) คือ
คีย์หลัก (Primary Key) คือ
© Aj. Krit Th.
https://www.kritth.com